Download เอกสารและรับชมย้อนหลังการเสวนา ? ‘ล็อกดาวน์’ ไม่ล็อกการเรียนรู้ #EP.1 พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดศรีสะเกษ บทเรียนจาก รร.ลำปลายมาศพัฒนา รร.บ้านกระถุน และ รร.บ้านปะทาย จัดกระบวนการเรียนรู้ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19)

31 สิงหาคม 2564

จากเวทีการเสวนา “ล็อกดาวน์ไม่ล็อกการเรียนรู้” เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2564 เวลา 09.30 – 12.30 น. ด้วยระบบ Zoom Cloud Meetings และ Facebook Live ผู้ที่พลาดโอกาสเข้าร่วมประชุมเสวนาออนไลน์ หัวข้อ “ล็อกดาวน์ไม่ล็อกการเรียนรู้” ครั้งที่ 1 การจัดกระบวนการเรียนรู้ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) บทเรียนจากโรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา โรงเรียนบ้านกระถุน และโรงเรียนบ้านปะทาย โรงเรียนนำร่องในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดศรีสะเกษ  สามารถรับชมย้อนหลังได้ทาง Youtube Live และสามารถดาวน์โหลดเอกสารในการเสวนาตามลิ้งค์ที่แนบไว้ด้านล่างนี้

___________________

สามารถดาวน์โหลดเอกสาร “เสวนาล็อกดาวน์ไม่ล็อกการเรียนรู้”
เมื่อวันอาทิตย์ที่ 22 ส.ค. 64 ได้ที่นี่
  1. ไฟล์นำเสนอครูใหญ่ Child Based : คลิกที่นี่เพื่อดาวน์โหลดเอกสาร
  2. ไฟล์นำเสนอครูสุกัญญา โรงเรียนลำปลายมาศ : คลิกที่นี่เพื่อดาวน์โหลดเอกสาร
  3. ไฟล์นำเสนอครูศิริมา โพธิจักร์ โรงเรียนลำปลายมาศ : คลิกที่นี่เพื่อดาวน์โหลดเอกสาร
  4. ไฟล์นำเสนอครูพรรณี แซ่ซือ โรงเรียนลำปลายมาศ : คลิกที่นี่เพื่อดาวน์โหลดเอกสาร
  5. ไฟล์นำเสนอ เติมเต็มคณิต โรงเรียนบ้านปะทาย : คลิกที่นี่เพื่อดาวน์โหลดเอกสาร
  6. ไฟล์นำเสนอครูสินีนาฎ โรงเรียนบ้านกระถุน : คลิกที่นี่เพื่อดาวน์โหลดเอกสาร

___________________

รับชม “เสวนาล็อกดาวน์ไม่ล็อกการเรียนรู้” เมื่อวันอาทิตย์ที่ 22 ส.ค. 64 ย้อนหลังได้ทาง Youtube Live 

Youtube [Child based Learning ช่วงกลาง ผู้ปกครองอนุบาล] ของโรงเรียนลําปลายมาศพัฒนา 

เมื่อลูกอนุบาลไม่ได้ไปโรงเรียน ชวนพ่อแม่ออกแบบการเรียนรู้ที่จะไม่ทำลายเซลฟ์ลูก

สามารถศึกษาบทความจากภาคีเครือข่ายในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการนำเสนอครั้งนี้ได้เพิ่มเติม ดังนี้

ครูใหญ่วิเชียร ไชยบัง : เคลื่อนมุมคิดจากโรงเรียนเป็นฐาน สู่เด็กเป็นเจ้าของการเรียนรู้ (Child Base Learning)  คลิกที่นี่

เมื่อลูกอนุบาลไม่ได้ไปโรงเรียน : ชวนพ่อแม่ออกแบบการเรียนรู้กับ ครูกลอย-สุกัญญา แสนลาด โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา คลิกที่นี่  

โจทย์ไม่เยอะแต่ท้าทาย เป้าหมายคือสมรรถนะ : การจัดการเรียนรู้ระดับประถม ‘ครูยิ้ม – ศิริมา โพธิจักร์’ คลิกที่นี่

Self-Directed Learner ช่วงเวลาเรียนรู้ที่มีคุณภาพของเด็กมัธยม: ครูณี-พรรณี แซ่ซือ โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา คลิกที่นี่ 

ลดภาระงาน เลือกทักษะที่สอดคล้องกับชีวิตเด็ก : หลักการจัดการเรียนรู้ในช่วงโควิด – 19 ของ ‘โรงเรียนบ้านปะทาย’ คลิกที่นี่

‘งานบ้าน งานสวน งานครัว’ วิชาเรียนของเด็กๆ โรงเรียนบ้านกระถุนในช่วงโควิด – 19 ที่ยังคงได้ทักษะชีวิตและสมรรถนะที่จำเป็น คลิกที่นี่

‘ปิดโรงเรียน เปิดชีวิต’ พลิกวิกฤตเป็นโอกาสทางการศึกษาที่เด็กเป็นเจ้าของการเรียนรู้ : มุมมองจากผู้ทรงคุณวุฒิ คลิกที่นี่ 


 


ผู้เขียน:
ภัชธีญา ปัญญารัมย์
กราฟิกดีไซน์เนอร์: เก ประเสริฐสังข์, อิศรา โสทธิสงค์
ผู้อัพโหลดคอนเทนต์: ภัชธีญา ปัญญารัมย์

Facebook Comments
ทีมวิจัยคณะศึกษาศาสตร์ มช. ลงพื้นที่ Coaching and Empowering ครูโรงเรียนคำเที่ยงอนุสสรณ์ ใช้หลักสูตร Modern Komthieng พัฒนาผู้เรียนสู่สมรรถนะ 10 ประการ? ‘ล็อกดาวน์’ ไม่ล็อกการเรียนรู้ #EP.3 “บทเรียนครูสามเส้า” กรณีศึกษา เครือข่ายโรงเรียนนำร่องพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดสตูล
บทความล่าสุด